Blog
Sync.lab#7 -- Happiness is...
ความสุขคืออะไร... นี่คือคำถามที่อยู่ในความคิดสุดท้ายของมนุษย์ในทุกชาติพันธุ์ เพราะไม่ว่าเราจะทำอะไร อาศัยอยู่ที่ไหน นับถือศาสนาอะไร เราต่างต้องการที่จะเข้าถึงความสุขด้วยกันทั้งนั้น
ถึงอย่างไรก็ดี ด้วยความผันผวนของเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่รู้ว่าจะมีจุดจบที่ไหน ความตรึงเครียดระหว่างสหรัฐกับอิหร่านที่ส่งผลต่อราคาน้ำมัน ความตรึงเครียดในทะเลจีนใต้อาจจะกลายเป็นปาเลสไตล์แห่งใหม่ในเอเชีย-แปซิฟิก และไม่ต้องกล่าวถึงการเมืองในประเทศไทยที่กำลังจะกลายเป็นวิกฤตการณ์ที่เลวร้าย เราต่างค้นพบว่าตัวเองอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบากในการที่จะแสวงหาความสุขในโลกปัจจุบัน
แต่เพื่อความเข้าใจความหมายของความสุขให้ดียิ่งขึ้น ดร.เอ็ด ดีลเนอร์ กล่าวว่า ความสุขสามารถตีความได้ถึงสภาวะของอารมณ์ของความผาสุข ซึ่งหมายถึงการวิเคราะห์ทางวิทยศาสตร์ในการประเมินผลของชีวิตตัวเราเอง ณ สถานการณ์หนึ่งหรือช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งการประเมินเหล่านี้รวมถึง การแสดงออกทางอารมณ์ต่อเหตุการณ์ต่างๆ อารมณ์ และการพิจารณาความพึงพอใจและความสำเร็จของชีวิต ในด้านต่างๆ เช่น การแต่งงาน และ การทำงาน นักวิจัยหลายคนให้ความสนใจองค์ประกอบสามด้านทางอัตวิสัยของความผาสุขในการปรเมินผล ผลกระทบในเชิงบวก (การดำรงอยู่ของอารมณ์ที่พึงพอใจ เช่นความสนุกสนาน, ความพอใจ, ความรัก) ผลกระทบในเชิงลบ (การเหลียกเลี่ยงของอารมณ์ที่ไม่พึงปราถนาเช่น ความกลัว, ความโกรธ, ความเศร้า) และการประเมินผลส่วนตัวต่อความพึงพอใจ โดยถ้าเราพิจารณาจากองค์ประกอบทั้งสามด้านทางอัตวิสัยของความผาสุกคนที่มีความสุขคือ ทุกๆคนที่มีความสดใสร่าเริงอย่างต่อเนื่อง เศร้าในบางเวลา และมีความพึงพอใจในชีวิตตัวเอง
ในหลักทางพุทธศาสนา พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) กล่าวว่าความสุขสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท ประเภทที่หนึ่งคือความรู้สึกของความสุขที่ขึ้นอยู่กับความพึงพอในเชิงวัตถุนอกกาย ความสุขประเภทนี้จึงขึ้นอยู่กับวัตถุภายนอกซึ่งหมายถึงว่าคนที่ความสุขในวิธีนี้จะกลายผู้แสวงหาความสุขด้วยการใช้พลังงานในการยกระดับความสามารถในการครอบครองวัตถุเพื่อที่จะสร้างความพึงพอใจให้กับตัวเอง แต่ผู้ที่แสวงหาความสุขด้วยวิธีนี้มักจะล้มเหลวในเชิงการพัฒนาคุณสมบัติการสร้างสรรค์ภายในซึ่งอาจนำมาซึ่งปัญหาทางจิตเช่น ความกังวล, ความเครียด,และความหดหู่ ประเภทที่สองคือความสุขในทางคุณภาพทางจิตที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุภายนอก นั่นหมายถึงเราไม่ได้พัฒนาในการยกระดับความสามารถในการครอบครองสิ่งนอกกายเพื่อที่จะสร้างความพึงพอใจให้กับตัวเองเพียงอย่างเดียวแต่เรายังคงพัฒนาความเป็นไปได้ในการพัฒนาการสร้างสรรรค์เพื่อที่จะสร้างคุณภาพทางจิตในเชิงบวกเพื่อที่จะรองรับสภาวะความหกหู่ทางจิตเมื่อมีอายุที่สูงขึ้น วิธีนี้ผู้ปฏิบัติจจะกลายเป็นผู้ครอบครองความสุขและนี่ความสุขในระดับที่สูง
แต่ทว่าเงินเกี่ยวข้องกับความสุขหรือเปล่า? ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเงินคือสิ่งที่อาจจะเป็นสะพานเชื่อมต่อเราเข้าถึงสถาวะของความผาสุกได้ โดยปกติแล้วคนที่มีวัฒนธรรมต่างกันมีแนวโน้มที่จะเข้าใจความสุขแตกต่างออกกันไป แต่ว่าในโลกของทุนนิยม ระบบที่เกือบจะทุกประเทศมีความเชื่อถือเป็นไปได้ที่ว่าเงินจะเป็นคำตอบสุดท้ายสำหรับทุกๆคน เราต่างทำงานหนักเพื่อหาเงินเพื่อหาซื้อบางสิ่งบางอย่างที่จับต้องได้ เช่น บ้านที่สวยงาม, รถสปอต์, สินค้าแบรนด์เนม, ประกันสุขภาพชั้นเลิศ, และการศึกษา เพราะฉนั้นแนวคิดที่ว่า “จำนวนเงินบ่งบอกถึงความสำเร็จที่พึงมี” จึงเหมือนจะกลายเป็นมาตราฐานในการตัดสินคน
และในปัจจุบันที่โลกที่เล็กลงเรื่อยๆและทุกสิ่งอย่างมีความเชื่อมโยงกันผ่าน Social Media, การเมือง, เศรษฐกิจ, soft power มนุษย์มีแนวโน้มที่จะถูกป้อนข้อมูลชุดเดียวกัน เพราะเราต่างดูหนังเรื่องเดียวกัน ฟังเพลงเดียวกัน ดูสถานนีโทรทัศน์เดียวกัน เช่น CNN และ BBC และด้วยเหตุผลเหล่านี้เราจึงถูกหล่อหลอมด้วยแก่นของความคิดชุดเดียวกัน
แต่ทว่าจากการทำงิจัยของ ดร.ดีลเนอร์ ในหนังสือเรื่อง Happiness Unlocking the Mysteries of Psychological Wealth ที่เขาเขียนร่วมกับ โรเบิรต์ บิสวอส ดีลเนอร์ ในปี 2008 พบว่าเงินและความร่ำรวยไม่ได้เป็นทั้งหมดของความสุข คนที่มีชีวิตอยู่ด้วยความยากจนสามารถเข้าถึงความสุขได้ในรูปแบบของตัวเขาเอง ตัวอย่างเช่นในเมือง กัลกัตต้า อินเดียเด็กมากกว่าหนึ่งแสนเป็นเด็กเร่ร่อน และมากกว่าสิบห้าครัวเรือนมีชีวิตที่ต่ำกว่ามาตราฐานของความยากจน ด้วยเงื่อนไขเหล่านี้คนในเมืองกัลกัตต้าน่าจะมีชีวิตที่ไม่น่าพึงปราถนาเท่าไร แต่ถึงอย่างไรก็ดีงานวิจัยครั้งนี้พบว่าคนเร่ร่อนในกัลกัตต้ามีความพึงพอใจในชีวิตของพวกเขามากกว่าคนเร่ร่อนในเมือง เฟรสโก้ แคลลิเฟอร์เนีย และพอร์ตแลนด์ โอเรกอน เพราะว่ามีปัจจัยอื่นที่มนุษย์สามารถพึ่งพิงได้ เช่น เพื่อนฝูง
ฉะนั้นแล้วความสุขจริงๆแล้วหมายถึงอะไรกันแน่ ความหมายที่มีลักษณะคลอบคลุมอาจจะมีคำตอบที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล และคงไม่มีใครสามารถจะบอกได้ว่าคำตอบของตัวดีที่สุด แต่ความสุขของคุณอยู่ในรูปแบบไหนคือสิ่งเราสามารถแบ่งปันกันได้
และในวันพุธที่ 19 ธันวาคมนี้ The Sync ขอชวนทุกคนร่วมแบ่งปันมุมมองเรื่องราวของความสุขในงาน Sync.lab#7 -- Happiness is... พบกับแขกรับเชิญ คุณ “เอ๊ดดี้” พิทยากร ลีลาภัทร์ เจ้าของผลงาน “ธนาคารความสุข” และ “วิตามินแห่งความสุข” ซึ่งจะมาร่วมแชร์มุมมอง เรื่องราว และประสบการณ์ในการสร้างความสุข
มาเจอกันได้ หนึ่งทุ่มตรงที่บ้าน The Sync งานนี้ใครที่อยากเปิดมุมมองในการค้นหาความสุขไม่ควรพลาด!
>> http://www.meetup.com/SYNC-Lab-Bangkok/events/94655062/
What is happiness?
This question has been a final thought for the entire human race because -no matter what we do, where we live, and which religion we believe in- we all want to reach happiness.
As the global economic downturn has gone to nowhere; the tension between US and Iran seems to affect oil prices; the tensions in South China Sea could be the new Palestinian conflict in Asia-Pacific; and not to mention to Thai politics, which has gone to a severe crisis, we find themselves in a difficult place to reach happiness.
To define this word, happiness can refer to an emotional state of well-being, the scientific analysis of how people evaluate their lives at the one moment in time or a longer period of time such as the past years. These evaluations also include people’s emotional reactions to events, their moods, judgments about their life satisfaction and fulfillment in various domains such as marriage and work (Diener et al, 2003). To get a result, most researchers focus on three components of subjective well-being: positive affect (PA), the presence of pleasant emotions such as joy, contentment, and affection, negative affect (NA), the relative absence of unpleasant emotions such as fear, anger, and sadness, and personal judgments about satisfaction. Taking the three components of subjective well-being together, a happy person is someone who is frequently cheerful, only occasionally sad, and generally satisfied with his or her life (Biswas-Diener, 2004).
In Buddhism’s concepts, there are two kinds of happiness. The first one is sensual happiness, dependent on external material pleasures. This kind of happiness depends on material objects outside ourselves. This means that anyone devoted to its enjoyment tends to become a pleasure-seeker spending a lot of energy to enhance the ability to acquire goods to gratify his or her sense (Payutto, 1996). While pleasure-seekers try to gratify themselves with material objects, they fail to develop inner creativity, causing mental problems such as anxiety, depression, and stress. The second is happiness in terms of mental quality independent of material objects outside. This means that people not only develop the ability to acquire external objects but also develop the potential of creativity to create positive mental quality to deal with negative mental states as they get older. With this way, people tend to become the processor of happiness (Payutto, 1996). And this way is a higher level of happiness.
But whether or not money is related to happiness
Without question, money could be a bridge to connect you to a state of well-being. Basically, people who have different cultures tend to understand what happiness is differently. But in capitalism, which almost every country believes in, money probably is the last answer for everyone. People work hard to get money to buy something concrete such as beautiful houses, sports cars, brand name products, great health insurance, education, and etc. This concept “how successful you are depends on how much money you earn” seems to be a criterion to judge people.
And, right now, because the world is too small and everything is connected through social media, politics, economics, and soft power, people in this planet tend to be informed with similar messages. People tend to get message from the same movies, listen the same songs, and watch the same news channel, such as CNN and BBC. With all of these reasons, people have been conceptualized with the same theme of messages.
But one research also indicated that money and richness are not all about happiness because people who live in the poverty can reach happiness in their own ways. For example, in Kolkata, more than a hundred thousand were homeless children in the city, and half of the 15 million inhabitants live below the poverty line. With these facts, they were supposed to have the most unpleasant life. However, the research, which was had been conducted by Robert Biswas-Diener, pointed that homeless people in Kolkata were more satisfied with their lives than homeless people in Fresno, California and Portland, Oregon because there were some other influential factors such as peers that people can rely on (Diener and Biswas-Diener, 2008).
So, what does happiness really mean? This umbrella term could have an individualistic answer for each, and no one can claim that he/she has the best answer. But what your view on happiness is can be a topic for sharing.